วันพฤหัสบดีที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

20 กุมภาพันธ์ 2557
วิชาการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษEAED2209
เวลา  15.00 - 17.30 น.


            วันนี้อาจารย์ได้พูดงานที่ค้างให้ทำให้ครบเรียบร้อยและได้ให้ส่งวิจัย ใครที่ยังไม่ส่งวันนี้ พรุ่งนี้ให้ส่งงานวิจัยก่อนบ่ายโมงและได้พูดถึงการออกสังเกตการณ์สอน ช่วงชั้นปีที่4 อาจารย์ได้โมคะเพราะไม่ยุติธรรมกับเพื่อนบางกลุ่ม บางเซ็ก เนื่องจากเพื่อนบางกลุ่มไม่รู้ และได้นัดให้มาประชุมวันที่ 19/2/57 เวลา 13.00 – 15.00 .   .ตึกกาญจนาภิเษกเพื่อชี้แจงงานต่างๆและให้นักศึกษาปีที่ 4 ได้เลือกโรงเรียนกันใหม่แล้วอาจารย์ได้แจกข้อสอบให้ไปทำเป็นการบ้าน ( ห้ามลอกกันห้ามหาเว็บไซต์ ) ให้ส่งภายในวันที่ 1 /3/57 และหลังจากนั้นได้ปล่อยให้นักศึกษาไปจัดนิทรรศการที่ห้อง 223


วันพฤหัสบดีที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557


13 กุมภาพันธ์ 2557
วิชาการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษEAED2209
เวลา  15.00 - 17.30 น.


เด็กที่มีความบกพร่องในการเรียนรู้ LD
            1. การดูแลให้ความช่วยเหลือ
·      สร้างความภาคภูมิใจใจตนเอง
·      มองหาจุดดีจุดแข็งและให้คำชมอยู่เสมอ
·      การเสริมแรงทางบวก
·      รู้จักลักษณะของเด็กที่เป็นสัญญาณเตือน
·      วางแผนการจัดทำแฟ้มข้อมูลเกี่ยวกบการเรียนรู้ของเด็ก
·      สังเกตความสามารถและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
·      IEP
            2. การรักษาด้วยยา
·      Ritalin
·      Dexedrine
·      Cylext
            หน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือ
·      สศศ. สำนักงานบริหารการศึกษาพิเศษ
·      มีหน้าที่ช่วยเหลือประสานงานและส่งตัวเด็ก
·      โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์
·      ศูนย์การศึกษาพิเศษ  Early Intervention ย่อมาจาก EI
·      โรงเรียนเฉพาะความพิการ
·      สถาบันราชานุกูล

วันพฤหัสบดีที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

กุมภาพันธ์ 2557
วิชาการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษEAED2209
เวลา  15.00 - 17.30 น.

       การดูแลรักษาและส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
·      รักษาตามอาการ
·      แก้ไขความผิดปกติที่พบร่วมด้วย
·      ให้เด็กสามารถช่วยเหลือตนเองได้ในชีวิตประจำวัน
·      เน้นการดูแลแบบองค์รวม holistic approach
1.           ด้านสุขภาพอนามัย
2.           ด้านส่งเสริมพัฒนาการ
3.           การดำรงชีวิตประจำวัน
4.           การฟื้นฟูสมรรถภาพ
·      การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์
·      การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการการศึกษา
·      การฟื้นฟูสมรรถภาพทางอาชีพโดยการฝึกอาชีพ
            การเลี้ยงดูช่วง 3 เดือนแรก
การปฏิบัติของบิดามารดา
·      ยอมรับความจริง
·      เด็กกลุ่มอาการดาวน์มีพัฒนาการเป็นขั้นตอน
·      ให้ความรักและความอบอุ่น
·      การตรวจภายใน ตรวจหามะเร็งปากมดลูก และเต้านม
·      การคุมกำเนิดและการทำหมัน
·      การสอนเพศศึกษา
·      ตรวจโรคหัวใจ
การส่งเสริมพัฒนาการ
·      พัฒนาทักษะด้านต่างๆ
·      สามารถปรับตัวและช่วยเหลือตนเอง
·      สังคมยอมรับมากขึ้น
·      คุณภาพชีวิตดีขึ้น
ส่งเสริมความแข็งแรงครอบครัว
·      ครอบครัวมีบทบาทสำคัญที่สุด
ส่งเสริมความสามารถเด็ก
·      การส่งเสริมโอกาสให้เด็กได้เล่น
·      ทำกิจกรรมที่หลากหลาย
การปรับพฤติกรรมและฝึกษะทางสังคม
·      เพิ่มพฤติกรรมที่เหมาะสม
·      การให้แรงเสริม
การฝึกพูด
·      ลดการใช้ภาษที่ไม่เหมาะสม
·      ช่วยลดพฤติกรรมก้าวร้าว
·      การสื่อความหมายทดแทน AAC
การสื่อความหมายทดแทน Augmentativ and Alternative Communication ; AAC
การส่งเสริมพัฒนาการ
·      ให้เด็กมีพัฒนาการเป็นไปตามวัย
·      เน้นในเรื่องการมองหน้าสบตา  การมีสมาธิ
·      ส่งเสริมพัฒนาการด้านอื่นๆ
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการศึกษา
·      เพิ่มทักษะพื้นฐานด้านสังคม
·      แผนการจักการศึกษาเฉพาะบุคคล
·      โรงเรียนเรียนร่วม
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางสังคม
·      ทักษะในชีวิตประจำวันและการฝึกทักษะสังคม
·      ให้เด็กสามารถทำได้ด้วยตนเอง
การักษาด้วยยา
·      Methylphenidte (Ritalin) ช่วยลดอาการไม่นิ่ง ซน หุนหันพลันแล่น ขาดสมาธิ
·      Risperidone / Hloperidol ช่วยลดอาการอยู่ไม่นิ่ง หงุดหงิด
·      ยาในกลุ่ม Anionrulsant (ยากันชัก) ใช้ได้ผลในรายที่มีพฤติกรรมกับร้ายตัวเอง
การบำบัดทางเลือก
·      การสื่อความหมายทดแทน AAC
·      ศิลปกรรมบำบัด  Art therapy
·      ดนตรีบำบัด Music therapy
·      การฝังเข็ม  Acupuncture
·      การบำบัดด้วยสัตว์ Animal therapy
พ่อแม่
·      ลูกต้องพัฒนาได้
·      เรารักลูกของเรา ไม่ว่าเขาจะเป็นอย่างไร
·      ถ้าเราไม่รักแล้วใครจะรัก
·      หยุดไม่ได้
·      ดูแลจิตใจและร่างกายของตนเองให้เข้มแข็ง
·      ได้กล่าวโทษตนเองหรือคู่สมรส

·      ควรหันหน้าปรึกษากันในครอบครัว

วันพฤหัสบดีที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2557

30 มกราคม 2557
วิชาการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษEAED2209
เวลา  15.00 - 17.30 น.


พ่อแม่ผู้ปกครองจัดกิจกรรมให้ลูกเรียนรู้เกี่ยวกับการเรียนร่วมกับเด็กที่มีความต้องการพิเศษอย่างไร?

           พ่อแม่ ผู้ปกครองควรมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนร่วมด้วยการรับรู้และให้ความช่วยเหลือในด้านวัสดุอุปกรณ์ สื่อการเรียนการสอน และการระดมทุนเพื่อช่วยเหลือ ทั้งนี้ควรมีบทบาทและหน้าที่ในการสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับลูกเพื่อที่จะให้ลูกยอมรับและสามารถอยู่ร่วมกับเพื่อนที่มีความต้องการพิเศษ ซึ่งพ่อแม่ควรมีบทบาทดังนี้
         ส่งเสริมให้ลูกได้เล่นและทำงานกับเด็กที่มีความต้องการพิเศษทั้งเพื่อนที่อยู่ในโรงเรียนและเพื่อนที่อยู่ใกล้บ้าน (ถ้ามี)
          พ่อแม่ควรสอบถามหรือสนทนากับลูกเกี่ยวกับเด็กที่มีความต้องการพิเศษที่เป็นเพื่อนกับลูกที่โรงเรียน เพื่อส่งเสริมให้เด็กสร้างปฏิสัมพันธ์กับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
           ให้การเสริมแรงด้วยวิธีการต่างๆกับลูกเมื่อลูกแสดงพฤติกรรมในเชิงบวกกับเพื่อนที่เป็นเด็กที่มีความต้องการพิเศษทั้งที่บ้านและที่โรงเรียน
              ให้ลูกบรรยายการกระทำความดีของตนเองที่มีต่อเพื่อนที่เป็นเด็กที่มีความต้องการพิเศษ เช่น การช่วยเหลือในการเล่นและการทำงาน การให้ยืมหรือแบ่งปันของเล่น ฯลฯ
           เปิดโอกาสให้ลูกได้มีความใกล้ชิดและมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนที่เป็นเด็กที่มีความต้องการพิเศษ เช่น การทำงานหรือเล่นร่วมกัน เปิดโอกาสให้เพื่อนที่เป็นเด็กที่มีความต้องการพิเศษมาเที่ยวที่บ้าน
เกร็ดความรู้เพื่อครู
           การจัดการเรียนร่วมจะประสบความสำเร็จเพียงใด ย่อมขึ้นอยู่กับครูที่จะต้องมีทัศนคติที่ดีต่อเด็กที่มีความต้องการพิเศษและการจัดการเรียนร่วม ครูต้องมีความตั้งใจในการสอน มีการวางแผนการสอนอย่างรอบคอบ จัดการเรียนการสอนให้มีความยืดหยุ่น และควรมีแผนการจัดการเรียนรู้เป็นรายบุคคลสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ และจัดบรรยากาศการเรียนการสอนให้มีลักษณะปกติ เพื่อไม่ให้เกิดความรู้สึกว่าเด็กที่มีความต้องการพิเศษมาเป็นภาระให้กับเพื่อนและครู และครูควรได้รับการอบรมฝึกฝนในเรื่องการจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ

mso � i - � P t:major-bidi;mso-hansi-theme-font:major-bidi'> เดือน เค้าก็จะพยายามเปล่งเสียง อ้อ แอ้ เพื่อตอบสนองเวลาเราพูดด้วย และอายุ 9 เดือน ลูกจะพยายามหันมองตามเสียงที่เราเรียก ดังนั้น คุณแม่ควรเฝ้าดูและช่วยกระตุ้นพัฒนาการทางการฟังของลูกน้อย โดยเฉพาะอย่างยิ่งควรพาลูกไปรับวัคฉีนและพบคุณหมออย่างสม่ำเสมอ

วิธีการที่จะช่วยเด็กที่มีความพิการทางหู มี 2 วิธี
การฝึกฟัง
            จะช่วยพัฒนาทักษะในการใช้ประสาทสัมผัส ในส่วนของการได้ยินเสียงที่เหลืออยู่ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด อุปกรณ์ที่มีวามสำคัญมากที่สุดในการฝึกฟัง คือ เครื่องช่วยฟัง ซึ่งจะทำหน้าที่ขยายเสียงให้ดังขึ้น โดยมีปุ่มสามารถปรับเสียงดังค่อยได้ตามความต้องการ มีอยู่ 4 ประเภท แล้วแต่ความถนัดของผู้ใช้ คือ
·      เครื่องช่วยฟังแบบใส่ในรูหู
·      เครื่องช่วยฟังแบบทัดหู
·      เครื่องช่วยฟังแบบติดกระเป๋าเสื้อ
·      เครื่องช่วยฟังแบบแว่นตา
การฝึกพูด
·      เพื่อส่งเสริมให้เด็กเข้าใจในภาษาพูด และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้
·      สถานศึกษาสำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางหู












วันพฤหัสบดีที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2557


23 มกราคม 2557
วิชาการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษEAED2209
เวลา  15.00 - 17.30 น.


เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน       
                        เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน หมายถึงเด็กหูหนวก และ เด็กหูตึง
เด็กหูหนวก เป็นเด็กที่สามารถได้ยินเสียงคนพูดน้อยมาก ใช้เครื่องช่วยฟังก็ไม่ได้ผล ซึ่งเด็กหูตึงเป็นเด็กที่สามารถได้ยินเสียงพูดบ้าง แต่ต้องใช้เครื่องช่วยฟัง ช่วยขยายเสียงให้ชัดเจนขึ้น
สาเหตุที่ทำให้หูพิการมาตั้งแต่เด็ก
·      ขณะที่แม่ตั้งครรภ์อาจได้รับเชื้อ ไวรัสหัดเยอรมัน เยื้อหุ้มสมองอักเสบ และซิฟิลิส
·      ขณะที่แม่ตั้งครรภ์อาจได้รับสารหรือยาที่เป็นอันตราย
·      กรรมพันธุ์
·      เด็กขาดออกซิเจนเป็นเวลานาน ในขณะทำคลอด
·      เด็กที่ต้องคลอดก่อนกำหนด
ทำอย่างไรถึงจะรู้ว่าเด็กมีความพิการทางหู
            จากคำแนะนำของคุณหมอเด็ก จากโรงพยาบาลที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่ง กล่าวว่า ถ้าอยากจะรู้ว่าเด็กคนนั้นมีความผิดปกติทางหูหรือไม่นั้น ต้องอาศัยการตรวจอย่างละเอียด อย่างสม่ำเสมอ ตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 1 ขวบ ซึ่งการตรวจเช็คนั้นจะมีปัจจัยหลายอย่างที่ทำให้คุณหมอทราบว่าเด็กคนนั้นมีความพิการทางหูหรือไม่ แต่คุณแม่สามารถสังเกตุจากพัฒนาการการได้ยินเสียงของลูกได้ คือ เด็กตั้งแต่แรกเกิด เมื่อได้ยินเสียงดัง เค้าจะผวา อายุ 5 เดือน เค้าก็จะพยายามเปล่งเสียง อ้อ แอ้ เพื่อตอบสนองเวลาเราพูดด้วย และอายุ 9 เดือน ลูกจะพยายามหันมองตามเสียงที่เราเรียก ดังนั้น คุณแม่ควรเฝ้าดูและช่วยกระตุ้นพัฒนาการทางการฟังของลูกน้อย โดยเฉพาะอย่างยิ่งควรพาลูกไปรับวัคฉีนและพบคุณหมออย่างสม่ำเสมอ
วิธีการที่จะช่วยเด็กที่มีความพิการทางหู มี 2 วิธี
การฝึกฟัง
            จะช่วยพัฒนาทักษะในการใช้ประสาทสัมผัส ในส่วนของการได้ยินเสียงที่เหลืออยู่ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด อุปกรณ์ที่มีวามสำคัญมากที่สุดในการฝึกฟัง คือ เครื่องช่วยฟัง ซึ่งจะทำหน้าที่ขยายเสียงให้ดังขึ้น โดยมีปุ่มสามารถปรับเสียงดังค่อยได้ตามความต้องการ มีอยู่ 4 ประเภท แล้วแต่ความถนัดของผู้ใช้ คือ
·      เครื่องช่วยฟังแบบใส่ในรูหู
·      เครื่องช่วยฟังแบบทัดหู
·      เครื่องช่วยฟังแบบติดกระเป๋าเสื้อ
·      เครื่องช่วยฟังแบบแว่นตา
การฝึกพูด
·      เพื่อส่งเสริมให้เด็กเข้าใจในภาษาพูด และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้
·      สถานศึกษาสำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางหู